ขี่จักรยานแตกต่างจากการวิ่งอย่างไร
คราวที่แล้วเป็นเรื่องการออกแรง คราวนี้มาถึงเรื่องระบบหัวใจและแอโรบิค .. ครับ ทั้งสองกีฬา เป็นการออกกำลังแบบแอโรบิคทั้งคู่ แต่เนื่องจาก เราทราบกันดีว่า จักรยานคือเครื่องกลที่ผ่อนแรง …ใช่แล้วครับ ในแง่การใช้พลังงาน มันเซฟกว่าถึง 1 ใน 3 ของการวิ่ง แถมกระเทือนต่อข้อต่อต่างๆน้อยกว่า แต่ถ้าใช้ความแรงของการออกเท่ากัน และระยะเวลาเท่ากัน วิ่งกับปั่นก็ใช้พลังงานพอๆกันแหละ
วิ่งทำให้ผอมกว่า จริงไหม …จริงในการใช้ระยะเวลา หรือระยะทางเท่ากัน ใช้พลังเฉลี่ยไปยังกล้ามเนื้อกว้างขวางกว่
แต่ร่างกายคนฉลาดมากๆครับ พอวิ่งๆปั่นๆไป ท่าทางการวิ่ง กล้ามเนื้อที่เคลื่อน จะพัฒนาไปในท่าทางที่ประหยัดพลังงานสูงสุด
ปั่นๆแล้วอ้วนเพราะอะไร ….. เพราะเราปั่นแบบ easy ครับ ไม่เพิ่มความหนัก ทีนี้จะเพิ่มมีอะไรเป็นเกณฑ์ อันนี้จะมีแบบฝึกครับ ปั่นแบบ recreational ทุกวัน มันจะประหยัดพลังงานเพิ่มเรื่อยๆ
เมื่อเทียบกันในแง่ของ แอโรบิค พบว่า
1. ความสามารถทางแง่แอโรบิคจากการวิ่งที่อึด ถ่ายทอดไปยังจักรยานได้ดีกว่า แต่ถ้ากลับกัน จะได้น้อยกว่า คือปั่นอึด อาจวิ่งไม่ดีเท่า
2. การวิ่งที่ช่วยการปั่น มีอยู่ในวารสารหนึ่งคือ วิ่งให้เป็น intensive interval 90-95% Max HR จะช่วยเพิ่ม VO2Max ของการปั่นแบบ time trial
3. ventilatory threshold ที่ต่ำกว่า Vo2max ของจักรยานจะดีกว่า
4. การเพิ่มและลงของ HR ก็ต่างกันครับ
5. Delta efficiency มากกว่า ในพวกที่วิ่ง อันนี้เขาขยายความว่า ใส่พลังงานเข้ากล้ามเนื้อ แล้ววิ่งจะได้พลังงานออกมามากกว่าจักรยาน (เพราะ eccentric contraction ใช้พลังงานน้อยกว่า)
ฝึกอย่างไรได้ทั้งคู่
———–
อันนี้ผมก็พยายามอยู่ ตามหนังสือเขาบอก ฝึกทั้งคู่
ฝึกให้รอบขาสูง ทั้งคู่ มันจะเสริมกัน วิ่งให้ SPM 170-180 up ปั่นให้รอบขา 90 up แต่ไม่เกิน 100 มากไป
brick training การซ้อมแบบนี้คือการเปลี่ยนจากปั่นจักรยาน
วิ่ง ไม่เพิ่มกล้ามขาครับ จักรยานจะเพิ่ม วิ่งมีแต่กล้ามแกร็นไร้ไขมัน แต่เวลามาปั่นที่ใช้หน้าขาขึ้นเขาจะแย่เอา
ฝุ่นpm2.5กับการออกกำลังกาย เชื่อว่าช่วงหลังๆ ในหน้าหนาว หลายคนกำลังประสบกับปัญหา ภัยจากฝุ่นควันจิ๋ว PM 2.5 ซึ่งเป็นฝุ่นที่มีขนาดเล็ก และสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพได้ หลายท่านที่เป็นนักกีฬา หรือต้องออกกำลังกายกลางแจ้งคงกังวลว่า เราจะสามารถออกกำลังได้ไหม ในสถานการณ์อย่างไรบ้าง ต้องใช้หน้ากากไหม และมีหน้ากากป้องกันฝุ่น…
10 อันดับโรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย 1. มะเร็งตับและท่อน้ำดี (Liver and Bile Duct Cancer) เป็นมะเร็งที่พบบ่อยที่สุดในประเทศไทย และมีอัตราการเสียชีวิตสูงที่สุด (20.3%) 2.มะเร็งปอด (Lung Cancer)…
มะเร็งในอายุน้อยลง ผลวิจัยระบุ โรคมะเร็งที่เกิดในวัยหนุ่มสาว — รวมถึงมะเร็งเต้านม ลำไส้ใหญ่ หลอดอาหาร ไต ตับ และตับอ่อน — เพิ่มขึ้นอย่างมากทั่วโลก โดยแนวโน้มนี้เริ่มขึ้นประมาณปี 1990 ไม่ต้องแปลกใจถ้าจะมีข่าวมะเร็งในคนอายุน้อยลงเรื่อยๆ…
ปอดบวมจากไข้หวัดใหญ่(ปอดอักเสบจากไข้หวัดใหญ่ ) Influenza Pneumonia เป็นภาวะแทรกซ้อนที่ร้ายแรงจากการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่ และการรักษาจะเกี่ยวข้องกับทั้งการใช้ยาต้านไวรัสและการดูแลแบบประคับประคอง อาการของปอดบวมจากไข้หวัดใหญ่ อาการระบบทางเดินหายใจ :ไอ (มักมีเสมหะ อาจใส เหลือง เขียว หรือแม้กระทั่งเป็นเลือด)หายใจสั้นหรือหายใจลำบากเจ็บหน้าอก ซึ่งอาจแย่ลงเมื่อหายใจลึกหรือไออาการในระบบต่าง…
Influenza A and B ICD 10 Influenza of any strains Use same ICD10 Influenza with…
ไข้หวัดใหญ่(Influenza, Flu)อัพเดตข้อมูลจาก Thaihealth.net กรมควบคุมโรค และสมาคมโรคติดเชื้อแห่งประเทศไทย อัพเดต 1/2025 ไข้หวัดใหญ่ บทนำ โรคไข้หวัดใหญ่ หมายถึง โรคระบบทางเดินหายใจที่เกิดจากไวรัส influenza เฉียบพลัน ซึ่งถ้าเป็นโรคไข้หวัดใหญ่…