selfcare

category

  1. Nursing Care การดูแลผู้ป่วย ผู้สูงอายุ หรือการช่วยเหลือผู้ป่วย
  2. การดูแลตนเองในโรคที่พบบ่อย เช่นอุบัติเหตุ ฉุกเฉิน
  3. ความรู้เกี่ยวกับยา วัคซีน
  4. สมุนไพรและการฝังเข็ม

การดูแลตนเองในโรคที่พบบ่อย

ข้อมูลจากเว็บข่าวเก่าไทยเฮลท์ (2012-2017)

selfcare – บทความสุขภาพ บทความสุขภาพ และข่าว Archive

  • เหา Pediculosis capitis
    by CK

    เหา (Pediculosis capitis) เหาเกิดจากเชื้อปาราสิต ชื่อว่า “Pediculus humanus” ซึ่งอาศัยอยู่บนหนังศีรษะ เส้นผม ขน ปาราสิตนี้จะคอยดูดเลือดกินเป็นอาหาร และวางไข่บนเส้นผม โดยหลั่งสารไคติน (chitin) หุ้มปลายหนึ่งของไข่ ให้เกาะติดแน่นอยู่ มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า บางคนไม่มีอาการเท่าใด แต่จะสร้างความรำคาญใจได้ อายุ เหาจะพบบ่อยในเด็กวัยเรียนมากที่สุด แต่จริง ๆ แล้วพบทุกเพศทุกวัย ตำแหน่งที่พบบ่อย…

  • โรคฉี่หนู leptospirosis
    by CK

    โรคที่มากับน้ำท่วม หรือหน้าฝนอีกโรค ที่พบบ่อยๆตามทุ่งนา คือ โรคฉี่หนู หรือที่เรียกว่า เล็ปโตสไปโรสิส leptospirosis สาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรียชื่อเล็บโตสไปร่า (Leptospira interogans) เชื้อนี้สามารถพบได้ในสุนัข สุนัขจิ้งจอก สัตว์เลี้ยงในบ้าน แต่พบมากในหนูซึ่งสามารถแพร่เชื้อออกมาได้โดยที่ตัวมันไม่เป็นโรค มักจะพบการระบาดในเดือนตุลาคม และพฤศจิกายน เนื่องจากเป็นฤดูฝนต่อหนาว มีน้ำขัง การติดต่อ สัตว์ที่นำเชื้อได้แก่ พวกสัตว์แทะ เช่น หนู…

  • กลาก dermatophytosis
    by CK

    โรคกลากที่ผิวหนัง เกิดจากเชื้อราพวก dermatophyte ซึ่งประกอบด้วย 3 genus ใหญ่ได้แก่ Trichophyton, Microsporum และ Epidermophyton เชื้อเหล่านี้สามารถย่อย keratin ได้ จึงอาศัยอยู่ตาม dead keratin ของผิวหนังในชั้น stratum cormeum, ขน, ผมและเล็บ ผื่นที่เกิดขึ้นเป็นการตอบสนองของคนไข้ต่อ metabolic products…

  • สิว คู่มือการรักษาสิว acne treatment manual
    by CK

    สิวและการรักษา สิวเป็นการอักเสบเรื้อรังของท่อรูขนและต่อมไขมันพบได้ค่อนข้างบ่อย หายได้เอง มักเริ่มเป็นในระยะวัยรุ่น พบว่ามีสิ่งต่างๆ มากมายมีผลต่อการเกิดหรือการหายของโรค โดยทั่วไปอาการมักจะเริ่มในระยะวัยรุ่น พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ลักษณะผื่นแตกต่างกันมาก ตั้งแต่เป็นตุ่มเล็กๆ ไม่มีอาการอักเสบจนถึงตุ่มอักเสบ เจ็บเหมือนฝี อาจแยกผื่นของสิวได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1. ผื่นสิวไม่อักเสบ (Non-inflammatory lesions) ลักษณะจะเป็นตุ่ม (palpules) เล็กๆ ซึ่งตรงกลางอาจเป็นสีดำ เรียก…

  • ปวดกล้ามเนื้อ ทำอย่างไรดี

    ถ้าคุณมีปัญหาเรื่องปวดเมื่อยจากการทำงานหนัก หรือออกกำลังกายมากๆ เรามีวิธีการช่วย จาก national library of medicine:healthdays news. ให้กล้ามเนื้อได้พัก การปวดเมื่อยแสดงว่ามีปัญหาเรื่องการไม่ได้พัก นอนพัก อย่าออกกำลังกายหนัก อาจรับประทานยากลุ่มต้านอักเสบ เช่น บรูเฟน หรือโวตาเรน ยาคลายกล้ามเนื้อ พารา ถ้ามีตำแหน่งที่ปวดชัดเจน ในสองวันแรก การประคบด้วยความเย็นจะช่วยได้มากทีเดียว หลงจากสองวัน ใช้การประคบร้อน หรือนอนในอ่างน้ำร้อน เริ่มต้นการออกกำลังเล็กน้อยเมื่อประมาณ วันที่ 4-5 หรือเริ่มหาย stretching การออกกำลังแบบยืดตัว โยคะ ช่วยได้มากทีเดียว รวมถึงการนอนให้พอ ไม่เครียด

Related lists

Hospital Lists