กลาก dermatophytosis

โรคกลากที่ผิวหนัง เกิดจากเชื้อราพวก dermatophyte ซึ่งประกอบด้วย 3 genus ใหญ่ได้แก่ Trichophyton, Microsporum และ Epidermophyton เชื้อเหล่านี้สามารถย่อย keratin ได้ จึงอาศัยอยู่ตาม dead keratin ของผิวหนังในชั้น stratum cormeum, ขน, ผมและเล็บ ผื่นที่เกิดขึ้นเป็นการตอบสนองของคนไข้ต่อ metabolic products…

ผื่นกลีบกุหลาบ pityriasis rosea

PITYRIASIS ROSEA Pityriasis rosea (P.R.) เป็นโรคผิวหนังในกลุ่ม papulosquamous disease ซึ่งพบได้ 1-2% หายเองได้ มักพบในวัยรุ่นและผู้ใหญ่อายุ 15-40 ปี ทั้งเพศหญิงและเพศชายพบได้เท่ากัน ผื่นมักจะขึ้นตามลำตัว ต้นแขนและขา อาการคันไม่มากนัก ลักษณะทางคลินิก ลักษณะผื่นอันแรกที่เรียกว่า herald patch มีรูปร่างกลมรี สีแดง ขอบชัด…

สิว คู่มือการรักษาสิว acne treatment manual

สิวและการรักษา สิวเป็นการอักเสบเรื้อรังของท่อรูขนและต่อมไขมันพบได้ค่อนข้างบ่อย หายได้เอง มักเริ่มเป็นในระยะวัยรุ่น พบว่ามีสิ่งต่างๆ มากมายมีผลต่อการเกิดหรือการหายของโรค โดยทั่วไปอาการมักจะเริ่มในระยะวัยรุ่น พบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ลักษณะผื่นแตกต่างกันมาก ตั้งแต่เป็นตุ่มเล็กๆ ไม่มีอาการอักเสบจนถึงตุ่มอักเสบ เจ็บเหมือนฝี อาจแยกผื่นของสิวได้เป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ 1. ผื่นสิวไม่อักเสบ (Non-inflammatory lesions) ลักษณะจะเป็นตุ่ม (palpules) เล็กๆ ซึ่งตรงกลางอาจเป็นสีดำ เรียก…

ล้างมือด้วยน้ำและสบู่ ดีที่สุดแล้วสำหรับไวรัส

ในยุคสมัยโรคไวรัสกำลังดัง ถ้ามีแพทย์แนะนำว่าล้างมือด้วยน้ำและสบู่ก็พอ อย่าเพิ่งคิดว่าน้อยไป เพราะผลวิจัยขนาดใหญ่ล่าสุด จากมหาวิทยาลัยนอร์ท แคโรไลน่า ตีพิมพ์ลงในวารสาร American Journal of Infection control พบว่า การล้างมือด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแบบที่นิยมกัน คือเป็นแอลกอฮอล์ชนิดแห้งไปเลยและไม่ต้องใช้น้ำล้างอีก(alcohol based) และสบู่กับน้ำธรรมดา ไม่ต่างกันในการฆ่าเชื้อไวรัส การวิจัยเปรียบเทียบ ที่ใช้กลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ จากมหาวิทยาลัยนอร์ท แคโรไลน่า พบว่า การใช้สบู่และน้ำ ก็เพียงพอที่จะกำจัด…

โรคของสะดือ สะดืออักเสบ สะดือจุ่น

ช่วงนี้ ได้พบคนไข้ที่มีอาการอักเสบของสะดือและสะดือจุ่น เลยอยากนำความรู้มาฝากสักเล็กน้อย เรื่องสะดือจุ่น และสะดืออักเสบ ที่มักพบมากในเด็กครับ เป็นปัญหาคาใจที่คุณพ่อคุณแม่หลายท่านวิตกกังวลมาก กลัวลูกร้องมากๆ แล้วสะดือจะแตกบ้างหรือกลัวจะไม่หายจนโตบ้าง แต่ความเป็นจริงแล้ว ขณะที่ทารกอยู่ในครรภ์มารดา เด็กจะได้รับอาหารโดยผ่านทางสายสะดือที่ต่อจากตัวเด็กไปยังรก เมื่อครบกำหนดคลอดต้องตัดสายสะดือจากตัวแม่ ส่วนรกที่เกาะ จะหลุดออกตามมาภายหลัง สายสะดือที่ติดอยู่กับตัวเด็กแพทย์จะรัดเอาไว้ โดยธรรมชาติสายสะดือจะค่อยๆ เหี่ยวและหลุดออกไปเองภายใน 2 อาทิตย์แรกหลังคลอด แต่บางคนอาจนานเป็นเดือน แต่คุณพ่อคุณแม่ ไม่ต้องตกใจ เพราะถือเป็นเรื่องปกติของเด็กแต่ละคน โดยทั่วไปเด็กจะไม่มีสะดือยื่นออกมา…

selfcare ไข้มาลาเรีย ความรู้ทั่วไปจากไทยเฮลท์

ช่วงนี้ พบข่าวการระบาดของไข้มาลาเรีย(มาเลเรีย malaria ที่แต่ก่อนเรียกว่าไข้ป่า หรือไข้จับสั่น) เลยนำข้อมูลมาให้ครับ จากเอนไซโคลปีเดีย และจะนำเสนอรายละเอียดมาเพิ่มเป็นตอน ๆ ไป 1 เอนไซโคลปีเดียมาลาเรีย,malaria,ไข้จับสั่น คืออะไร ลองคลิกดู 2 เนื้อหา ไข้มาลาเรีย ซึ่งจะนำเสนอบทความสั้นๆ หลายตอนจบ ควรเก็บหน้านี้ไว้สำหรับอ้างอิง ต้องขอบคุณ กรมควบคุมโรคติดต่อ สำหรับเนื้อหาดีๆครับ